จุลินทรีย์

จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง

จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง จากการทดลองนำหัวเชื้อมาขยาย

ภาพชุดที่ 1 จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง การนำมาขยาย มีการทดลอง โดยนำสายพันธุ์สีน้ำตาลมาขยายในขวดขนาด 1,500 CC. ปริมาณหัวเชื้อ 45 CC (สีนำ้ตาลแถวที่ 1) สำหรับแถวที่ 2 ต้องการทดลองบางอย่าง จึงใช้ปริมาณหัวเชื้อ 60 CC พร้อมด้วยไข่ไก่ที่ผสมด้วยชูรสและน้ำปลาตามสูตรที่เคยนำเสนอไว้ ในปริมาณ 1 ช้อนแกง

น้ำมะพร้าวเทียม

เตรียมทำน้ำมะพร้าวเทียม เพื่อนำไปใช้รดต้นไม้ เพิ่มเป็นส่วนขยาย สารพัดประโยชน์

ส่วนผสม น้ำตาล 1 กิโลกรัม รำละเอียด 1 กิโลกรัม ต่อน้ำ 30 ลิตร หากต้องการปริมาณที่มาก ก็ปรับเพิ่มขึ้นตามสัดส่วน

จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง

ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ด้วยการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไว้ใช้งานกันดีกว่า

การทำจุลินทรีย์เพิ่มเติม ด้วยการใช้หัวเชื้อที่เราได้ทำไว้ก่อนหน้านี้ เป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น วันนี้ที่พวกเราพากันทำ ด้วยการนำหัวเชื้อมา 2 สายพันธุ์ นั่นคือสีเขียว และสีน้ำตาล

หัวเชื้อส่วนขยาย

นำหัวเชื้อมาสร้างส่วนขยาย

เราใช้เวลาอย่างน้อย 2 เดือน เพื่อสร้างหัวเชื้อ ถ้าเราสามารถนำส่วนขยายมาเติมใหม่ เราก็จะมีธาตุอาหารให้กับพืชมากขึ้น ลองศึกษาวิธีการดูครับ

จุลินทรีย์ปลา

การผลิตหัวเชื้อด้วยจุลินทรีย์ปลา

วัตถุอินทรีย์ที่เราต้องการ คือ หัวปลา เศษปลา ก้างปลา จัดหามาได้ตามความต้องการ ตัวอย่างที่เริ่มจัดทำ ใช้หัวปลาน้ำหนัก 3 กิโลกรัม สับประรด จัดมา 2-3 กิโลกรัม พร้อมด้วยรำละเอียด และกากน้ำตาล

น้ำมะพร้าวเทียม

สูตร น้ำมะพร้าวเทียม ของอาจารย์ธงชนะ พรหมมิ : นำน้ำตาลอ้อย หรือน้ำตาลสีรำ 1 กิโลกรัม พร้อมด้วยรำละเอียด 1 กิโลกรัมมาเป็นส่วนประกอบ

จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง

จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เป็นแบคทีเรียที่พบกระจายทั่วไปในธรรมชาติ ตามแหล่งน้ำเค็ม น้ำจืด ความมหัศจรรย์ของแบคทีเรียชนิดนี้ อยู่ตรงกระบวนการที่อยู่ในเซลล์ เมื่ออยู่ในกระบวนการที่ใช้แสงก็เกิดกระบวนการ ทำให้มีชีวิตอยู่ได้